ลักษณะและส่วนประกอบของเซลล์
ลักษณะของเซลล์ เซลล์ของสิ่งมีชีวิตมีหลายชนิด มีขนาดที่แตกต่างกันทั้ง
ลักษณะ รูปร่าง แต่จะมีส่วนประกอบบางชนิดที่คล้ายกัน เช่น นิวเคลียส
เยื้อหุ้ม ไซโทพลาซึม แต่ก็มีส่วนประกอบบางส่วนที่แตกต่างกัน
ส่วนประกอบของเซลล์ เซลล์เป็นสิ่งที่มีขนาดเล็กแต่มีส่วน
ประกอบอยู่หลายชนิด
ผนังเซลล์ เป็นเยื้อหุ้มเซลล์ด้านนอกสุดของเซลล์ ในเซลล์ส่วนใหญ่
ทั่วไปประกอบด้วยเซลล์ลูโลส ซึ่งจะทำหน้าที่ ด้านนอกสุดป้องกันเซลล์ให้
ช่วยให้เซลล์คงรูป เพิ่มความแข็งแรง
เซลล์ของสัตว์ไม่มีผนังเซลล์
แต่เซลล์สัตว์บางชนิดอาจมีสารเคลือบเยื่อหุ้มเซลล์
มีลักษณะที่แตกต่างกันไปแล้วแต่ชนิด เช่น กระดองปู เปลือกกุ้ง
จะมีสารเคลือบพวกไกลโคโปรตีน
เยื่อหุ้มเซลล์ ทำหน้าที่ควบคุมปริมาณ
ของสารที่ผ่านออกจากเซลล์จะมีรู้เล็กๆเพื่อให้สารบางอย่าง เข้าออกได้
จะมีคุณสมบัติเป็นเยื้อเลือดผ่าน เยื่อหุ้มเซลล์จะมีลักษณะเป็นเยื่อบางๆ
ประกอบด้วยโปรตีนและไขมัน
นิวเคลียส เป็นโครงสร้างที่อยู่ตรงกลางเซลล์
ประกอบด้วยเยื่อหุ้มเป็นเยื่อบางๆ ล้อมรอบนิวเคลียส หนาสองชั้น
ซึ่งจะซึ่งติดกับ เอนโดพลาสมิก จะมีรู้เล็กๆกระจายอยู่โดยรอบ
นิวเคลียสมีความสำคัญในการควบคุมการทำงานของเซลล์ร่วมกับโซโทพลาซึม
ควบคุมการทำงานของทอดลักษณะทางพันธ์กรรม
และยังทำหน้าที่ควบคุมการสังเคราะห์สารประกอบของเซลล์
นิวเคลียส มีส่วนประกอบดั้งนี้
1. นิวคลีโอพลาซึม มีรูปร่างที่ไม่แน่นนอน เป็นส่วนที่ใส ไม่มีสี
ซึ่งเป็นของเหลวในนิวเคลียส
2. ร่างแห นิวเคลียส เป็นตัวควบคุมการแสดงออกถึงลักษณะ ต่างๆ
ของสิ่งมีชีวิต ประกอบ ด้วย ยีน มีโครงสร้างคล้ายร่างแห เมื่อมีการแบ่งตัว
ร่างแหโครโมโซมนิวเคลียสจะเปลี่ยนไปเป็นร่างแหไมโครโซม
3. นิวคลีโอลัส มีหน้าที่ เกี่ยวข้องกับการสร้างโปรตีน
อยู่ตำแหน่งที่ติดกับสีเคมีบนโครโมโซม ประกอบด้วยสารประเภท DNA และ RNA
โพรโทพลาซึม มีลักษณะเป็นของเหลว เรียกว่า ไซโทพลาซึม
จะเป็นส่วนประกอบทั้งหมดภายในเยื้อหุ้มเซลล์และส่วนที่เป็นโครงสร้างต่างๆ
เช่นนิวเคลียส ไมโทคอนเดรีย แต่ในเซลล์พืช จะพบ คลอโรพลาสต์ ละแวคิวโอล
เป็นต้น
ไซโทพลาซึม มีลักษณะ เป็นของเหลวที่ยังไม่มีสารใดๆ ละลายได้ เช่นโปรตีน
เป็นต้น ภายในไซโทพลาซึม ยังประกอบไปด้วยหน่วยเล็กๆ เช่น
1. ไมโทคอนเดรีย มีลักษณะเป็นรียาว เป็นแหล่งที่ผลิตสารที่มีพลังงานสูง
2. คลอโรพลาสต์ พบในพืช
ที่เรามองเห็นเป็นสีเขียว มีความสำคัญในการสังเคราะห์แสง
3. ไรโบโซม เป็นแหล่งที่สังเคราะห์โปรตีนเพื่อส่งออกไปนอกเซลล์
จะเป็นโครงสร้างที่มีขนาดเล็ก
4. กอลจิคอมเพลกซ์ โครงสร้างคลล้ายจากเรียงซ้อนกันหลายชั้น
มีหน้าที่สร้างสารคาร์โบไฮเดรตไปรวมกับโปรตีน เพื่อนำออกไปใช้ภายนอกเซลล์
5. เซนตริโอล พบในเซลล์ของสัตว์ และโพรติสต์บางชนิด
มีหน้าที่เกี่ยวกับการแบ่งเซลล์
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
เซลล์พืช มีส่วนระกอบด้วย ผนังเซลล์ จะมีสารเซลลูโลส หุ้มเซลล์ไว้
ภายในโพรโทพลาซึมจะมี ไซโพพลาซึม โดยนิวเคลียส ไมโทคอนเดรีย
เป็นโครงสร้างให้พลังงานแก่ เซลล์คลอโรพลาสต์
โดยภายในจะบรรจุด้วยคลอโรฟีลล์ ซึ่งจะไม่ดูดกลืนแสงสีเขียว
มีประโยชน์ในการสังเคราะห์แสง seal2thai.org
เซลล์สัตว์ จะแบ่งเป็นส่วนๆ คือ นิวเคลียส และอีกส่วนคือ ไซโทพลาซึม
ภายในเราเรียกว่า ไซโทพลาซึม เป็นส่วนประกอบของหน่วยย่อยๆ
ในเซลล์ของสัตว์ไม่มีผนังเซลล์แต่จะมีเยื่อหุ้มเซลล์ ห่อหุ้มโพรโทพลาซึม
จะมีลักษณะเป็นของเหลวทั้งหมดภายในเยื้อหุ้มเซลล์ โพรโทพลาซึม
สิ่งที่มีชีวิต ทั้งพืชและสัตว์
ประกอบด้วยหน่วยชีวิตที่เล็กที่สุดเหมือนกัน
แต่รายละเอียดจะมีความแตกต่างกัน เช่น
1. เซลล์ของพืชจะมีผนังเซลล์เพื่อความแข็งแรง แต่ไม่มีในเซลล์ของสัตว์
2. เซลล์ของพืชยังมี คลอโรพลาสต์เพื่อใช้ในการสังเคราะห์แสง
แต่ไม่พบในเซลล์สัตว์
3. ความแตกต่างกันในรูปร่าง คือ เซลล์ของพืชจะมีรูปร่างเป็น สี่เหลี่ยม
เซลล์ของสัตว์จะมีรูปร่างค่อนข้างกลมรี
ศึกษาความรู้ทางวิทยาศาสตร์ เพื่ออนาคตกันนะครับพี่น้องดินแดนปัญญาชน
ท่านสามารถอ่านบทความนี้ได้ที่
http://www.seal2thai.org/sara/sara228.htm
free toolbar
ที่มา
ครูพิริยะ
ตระกูลสว่าง
ขอบคุณครับที่ทำ link
และอ้างอิงมาหาเรา
นึกว่าในสังคมจะไม่มีคนให้เกียรติคนอื่นเหลืออยู่อีกแล้ว
|
ให้คะแนนข้อเขียนนี้ กี่ดาวดีครับ... |
|
|