ความรู้เกี่ยวกับกฎหมายอาญา
เอกสารประกอบบรรยาย อ.เฉลิมพร พงษ์ภู่ คณะมนุษยศาสตร์ และสังคมศาสตร์ สถาบันราชภัฏพิบูลสงคราม |
|
หน้าที่ 2
|
|
ลักษณะความผิดของกฎหมายอาญา | |
ความผิดในทางอาญานั้น
โดยหลักแล้วต้องถือว่าเป็นความผิดต่อแผ่นดินทั้งนั้น
กรณีที่เป็นความผิดต่อส่วนตัวหรือที่กฎหมายเรียกว่า
ความผิดอันยอมความกันได้นั้น
ถือเป็นข้อยกเว้นซึ่งจะต้องมีกฎหมาย
บัญญัติไว้โดยเฉพาะเจาะจง
ความผิดอันยอมความกันได้นี้แตกต่างจากความผิดอาญาแผ่นดิน คือผู้เสียหายไม่ติดใจเอาแก่ผู้กระทำความผิด เช่นไม่ยอมร้องทุกข์ ตำรวจก็จะสอบสวมผู้กระทำผิดมิได้ ตาม ป.วิ.อ. มาตรา 121 อันจะทำให้รัฐไม่อาจดำเนินคดีแก่ผู้กระทำความผิดไปโดยลำพังได้ หรือหากมีการดำเนินคีด เมื่อมีการถอนฟ้องหรือยอมความกัน สิทธินำคดีนั้นมาฟ้องก็จะกลับไปตาม ป.วิ.อ. มาตรา 39 |
|
การใช้กฎหมายอาญา | |
เมื่อการกระทำผิดเกิดขึ้น
และการกระทำผิดนั้นยอมความมิได้หรือเป็นความผิดอันยอมความได้
้และผู้เสียหายติดใจที่จะให้มีการดำเนินคดีก็เป็นหน้าที่ของรัฐที่จะต้องเข้ามาเกี่ยวข้องโดยการนำตัวผู้กระทำผิดไปลงโทษ
แต่เนื่องจากการลงโทษทางอาญานั้นมีผลกระทบกระเทือนต่อชีวิต ร่างกาย เสรีภาพ และทรัพย์สินของประชาชน จึงมีหลักการยอมรับกันในทางกฎหมายที่ว่า "ไม่มีความผิด ไม่มีโทษ หากไม่มีกฎหมาย" |
|
หลักเกณฑ์การใช้กฎหมายอาญา | |
|
|
การตีความกฎหมายอาญา | |
การตีความกฎหมายอาญานั้นจะต้องตีความที่ถูกต้องโดยผู้ตีความชอบที่จะต้องใช้การผสมผสานของหลักเกณฑ์การตีความ
โดยถือเอา การตีความตามความมุ่งหมายของตัวบทกฎหมายเป็นแกนนำ
ส่วนหลักเกณฑ์การตีความกฎหมายอื่นๆนั้นเป้นเพียงปัจจัย
ที่จะนำเข้าไปใกล้กับความหมายที่แท้จริงของตัวบทกฎหมายเท่านั้น
หลักการตีความกฎหมายทั่วไปที่นำมาใช้ตีความกฎหมายอาญาพอสรุปได้ดังนี้
|
|
โครงสร้างของกฎหมายอาญาของไทย
แบ่งออกเป็น
3 ภาคดังนี้
|
|
www.lawsociety6.org สภาทนายความภาค 6 |
|